ชื่อไทย
จั๋งเชียงใหม่ด่าง
ชื่อท้องถิ่น
จั๋งญี่ปุ่น เท้าสาน หมากญี่ปุ่น(กทม.)
ชื่อสามัญ
Japanese peace palm / Lady palm
ชื่อวิทยาศาสตร์

Rhapis excelsa (Thunb.) Henry "Variegated"

สกุล
Rhapis
สปีชีส์
excelsa
ชื่อพ้อง

Chamaerops excelsa Thunb.

Rhapis divaricata Gagnep. 

ชื่อวงศ์
ARECACEAE
กลุ่มพรรณไม้
ปาล์ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น ปาล์มแตกกอ กลายพันธุ์จากจั๋งญี่ปุ่น

ใบ มีก้านใบและใบย่อยเป็นแถบสีขาวหรือเหลืองมีขนาดของความด่างเด่นชัดแตกต่างกัน หากใบด่างทั้งหมดจะสังเคราะห์แสงไม่ได้และเหี่ยวแห้งไป

สภาพนิเวศ
กลางแจ้ง,ร่มรำไร
สภาพนิเวศวิทยา

-

ถิ่นกำเนิด

พืชพื้นเมืองเวียดนาม จีนตะวันออกเฉียงใต้ และไห่หนาน

การกระจายพันธุ์

จีนตอนใต้ หมู่เกาะรีวกีวประเทศญี่ปุ่น ประเทศไทย  ประเทศตรินิแดด และโตเบโก

การปลูกและการขยายพันธุ์

ลักษณะด่างเปลี่ยนแปลงได้ จึงควรขยายพันธุด้วยวิธีแยกหน่อ

ประเภทการใช้ประโยชน์
พืชประดับ

ปลูกประดับสถานที่ ปลูกประดับเป็นไม้กระถางขนาดใหญ่

แหล่งอ้างอิง

ปิยะ เฉลิมกลิ่น. 2550. คู่มือ ปาล์มประดับ ฉบับปรับปรุงและเพิ่มเติม. พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์บ้านและสวน;อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด. กรุงเทพมหานคร. 304 น.

Kew Science,The Royal Botanic Gardens. “Rhapis excelsa (Thunb.) A.Henry”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.plantsoftheworldonline.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:669577-1 (23 กรกฎาคม 2560).

The Plant List. 2013. “Rhapis excelsa (Thunb.) Henry”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.theplantlist.org/tpl1.1/record/kew-177959 (23 กรกฎาคม 2560).

รายการรูปภาพ

กลับหน้ารายการพรรณไม้